วันอาทิตย์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2553

ขายนาฬิกาข้อมือ สุภาพสตรี

วิธีการสั่งซื้อสินค้า  >>
สามารถทำได้  3  วิธีครับ 

  วิธีที่  1             อีเมลล์สั่งซื้อสินค้ามาที่ celebration_kel@hotmail.com  
                            โดยลูกค้าต้องระบุข้อมูลต่อไปนี้ให้ครบถ้วนครับ

                        -   ชื่อ / อีเมลล์ / เบอร์โทร / ที่อยู่ติดต่อกลับ
                                -   รุ่นของสินค้า / ราคา

 วิธีที่  2             โทรสั่งสินค้าได้ที่  0849206189
                            ***สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ทางเว็บบอร์ดหรือทางโทรศัพท์ได้นะครับ ***
      เมื่อทางร้านได้รับรายการสั่งซื้อสินค้าจากคุณแล้ว ทางร้านจะติดต่อกลับไป เพื่อยืนยันการสั่งซื้อสินค้า   หลังจากนั้นลูกค้าจึงค่อยทำการชำระเงินตามวิธีที่ทางร้านกำหนดไว้   กรุณาคลิกที่    "วิธีการชำระเงิน" หากไม่มีการติดต่อกลับภายใน 48 ชม. แสดงว่าทางร้านอาจจะไม่ได้รับข้อมูลการสั่งซื้อจากคุณ    กรุณาส่งรายการสั่งซื้อสินค้ามาใหม่ครับ ได้ทั้งทาง อีเมลล์  หรือ celebration_kel@hotmail.comติดต่อได้ที่ โทร. 0849286189

วิธีการชำระเงิน
ชำระเงินผ่านบัญชีธนาคาร
1.  ธนาคารไทยพาณิชย์ เลขบัญชี  181-230873-9  
ชื่อบัญชี คุณ อรชา  ไชยบุตร   สาขา ตลาดยิ่งเจริญ
2.  ธนาคารธหารไทย เลขบัญชี  158-2-10248-7
    ชื่อบัญชี คุณอรชา   ไชยบุตร  สาขามหาวิทยาลัยศรีปทุม


                   * โปรดเก็บสลิปการโอนเงินไว้จนกว่าท่านจะได้รับสินค้า *
***ชำระเงินแล้วแจ้งที่เว็บบอร์ด, E-mail
      โทร หรือ sms มาที่หมายเลข 084926189 ด้วยนะค่ะ
     

วันอังคารที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553

ขายนาฬิกา FOSSIL


FOSSIL
Riley Purple Silicone Multifunction Watch
ราคา 3,000.00 บาท















FOSSIL
Digital Purple Crystal Dial Watch
ราคา 2,100.00 บาท
















FOSSIL
New - Three Hand Silver Dial Watch
ราคา 2,100.00 บาท
















FOSSIL
Riley Pink Silicone Multifunction Watch
ราคา 3,000.00 บาท

 

GUCESS
Mini Autograph Berry - Web Exclusive
ราคา 3,000.00 บาท











GUCESS
Mini Spectrum Gun Metal Watch - Web Exclusive
ราคา  4,300.00 บาท











GUCESS
Sparkling Pink 2010 Watch
ราคา  3,000.00 บาท











GUCESS
Candy Stripe Pink Watch
ราคา 4,800.00 บาท











GUCESS
Mini Autograph Rose Gold Watch- Web Exclusive
ราคา 3,200.00 บาท

วันอาทิตย์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2553

ขายนาฬิกา COACH

Coach Watches- Coach Classic with Signature Dial and Signature Strap Women's Watch


ราคา 9,000.00 บาท
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
Coach Watches Coach Legacy With Signature Brown Leather Strap and Silver White Dial Women's Watch
ราคา 9,000.00 บาท
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
Coach Watches- Coach Lexington All Stainless Steel Women's Watch

ราคา 9,500.00 บาท
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
Coach Watches Coach Gallery with 4 Exchangeable Bezels Silver Dial Women's Watch
ราคา 1,1000.00 บาท
 














 
  Coach Collection in Brushed and Polished Stainless Steel Signature Dial Women's Watch
ราคา 9,500.00 บาท
 
 

วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553

ประวัติความเป็นมาของนาฬิกา


ในสมัยโบราณมนุษย์ยังไม่มีนาฬิกาใช้ การดำเนินชีวิตขึ้นอยู่กับธรรมชาติ ดวงอาทิตย์จึงเป็นนาฬิกาเรือนแรกที่มนุษย์รู้จัก นักประวัติศาสตร์ชื่อ Herodotus ได้บันทึกไว้ว่า ประมาณ 3,500 ปีก่อน มนุษย์รู้จักใช้ นาฬิกาแดด ซึ่งนับว่าเป็นนาฬิกาเรือนแรกของโลก โดยสามารถอ่านเวลาได้จากเงาที่ตกทอดลงบนขีดเครื่องหมาย


นาฬิกาแดด(Sundial)เป็นเครื่องบอกเวลาและเครื่องมือวัดเวลา

วิธีธรรมชาติแบบหนึ่ง ทีมีใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน โดยอาศัยการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ที่ปรากฎในแต่ละวันเป็นหลัก สมัยโบราณก่อนที่จะเริ่มมีนาฬิกาจักรกลหรือนาฬิกาอิเล็กทรอนิกส์ ไว้ใช้บอกเวลาเช่นในปัจจุบันมนุษย์ใช้ประโยชน์จากปรากฎการณ์ธรรมชาติ ในการสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่างๆจากธรรมชาติเพื่อการกำหนดเวลา

โดยเฉพาะใช้ดวงอาทิตย์เป็นเครื่องชี้บอกเวลาธรรมชาติที่สำคัญที่สุด เช่นเวลาเช้าดวงอาทิตย์ขึ้น เวลาเที่ยงดวงอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะ เวลาเย็นค่ำดวงอาทิตย์ตกลับจากขอบฟ้าส่วนเวลากลางวัน ในช่วงเวลาอื่นก็อาศัยสังเกตดูจากการทอดเงา ของวัตถุใดวัตถุหนึ่งที่กำหนดให้เป็นเครื่องบอกเวลาของคนในท้องถิ่นนั้น ซึ่งอาจไม่มีความเที่ยงตรง แต่ก็ยอมรับได้สมัยนั้นมาใช้กำหนดเวลาด้วยหลักการตามที่กล่าวมา มนุษย์ในระยะแรกจึงได้ประดิษฐ์คิดค้นนาฬิกาแดด (Sundisl)ให้มี รูปทรงที่เหมาะสมขึ้นมาใช้งานเป็นเครื่องบอกเวลาอย่างง่าย

นาฬิกาแดดคิดค้นขึ้นครั้งแรกเมื่อใดไม่ปรากฎ แต่จากหลักฐานพบว่านาฬิกาแดดพัฒนาขึ้น ในสมัยอียิปต์โบราณหรือราว 2000ปี มาแล้ว นาฬิกาแดดนั้นแสดงเวลาที่อาจคลาดเคลื่อนไป จากเวลานาฬิกาข้อมือของผู้สังเกต แต่ถ้าได้เข้าใจหลักการของนาฬิกาแดดแล้วนำค่าเวลามาแก้ไข เวลาที่ได้จะมีความถูกต้องพอสมควร ที่เป็นเช่นนี้เพราะนาฬิกาแดดนั้น แสดงเวลาธรรมชาติที่ควรจะเป็น ซึ่งต่างจากเวลาของนาฬิกาข้อมือหรือนาฬิกาทั่วไปที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน บอกวัดเวลาหรือแสดงเวลาที่ต้องการให้เป็น หมายความว่าเวลาที่ แสดงจากนาฬิกาแดดนั้นเป็นเวลาที่เราเรียกว่าเวลาดวงอาทิตย์ ณ ตำบลที่นั้นอยู่เป็นประจำ ไม่ใช่เวลาท้องถิ่นสมมุติ หรือเวลาที่เราต้องการให้เป็น
ต่อมาชาวกรีกโบราณรู้จักพัฒนา นาฬิกาน้ำ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งกว่านาฬิกาแดด เรียกว่า clepsydra ( คำนี้เป็นคำสนธิที่มีรากศัพท์มาจากคำว่า clep ซึ่งแปลว่า ขโมย และคำ sydra ที่แปลว่า น้ำ ) เพราะนาฬิกานี้ทำงานโดยอาศัยหลักที่ว่า " ภาชนะดินเผาที่มีน้ำบรรจุเต็มเวลาถูกเจาะที่ก้นน้ำจะไหลออกจากภาชนะทีละน้อยๆ เหมือนการขโมยน้ำ " ดังนั้นชาวกรีกโบราณจึงได้กำหนดระยะเวลาที่น้ำไหลออกจนหมดภาชนะว่า 1 clepsydra แต่นาฬิกาน้ำนี้ต้องมีการเติมน้ำใหม่ทุกครั้งที่หมดเวลา 1 clepsydra และในฤดูหนาวน้ำจะแข็งตัวทำให้ไม่สามารถใช้นาฬิกาได้

นาฬิกาน้ำของอียิปต์ เมื่อประมาณ 1,400 ปี ก่อนคริสตกาล อาศัยน้ำหยดออกจากรูข้างใต้ภาชนะ

ในปี ค.ศ.1929 Warren Morrison ได้ประดิษฐ์ นาฬิกาควอตซ์ ขึ้นเฉพาะที่เป็น นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาประเภทนี้เที่ยงตรงมาก และในปี ค.ศ.1980 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ มีการประดิษฐ์ นาฬิกาโดยใช้ชิป ( chip ) เป็นส่วนประกอบเพิ่มเติมในกลไกของนาฬิกา ซึ่งนอกจากจะบอกเวลาแล้วยังสามารถเก็บข้อมูลที่จำเป็น และสามารถใช้เป็นเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ได้ด้วย หลังจากนั้นเทคโนโลยีในด้านการประดิษฐ์นาฬิกาได้ก้าวหน้าเรื่อยมา จนกระทั่งทุกวันนี้เรามี นาฬิกาคอมพิวเตอร์ ใช้กันแล้ว

นาฬิกาแดด ลานหน้าพระอุโบสถวัดนิเวศน์ธรรมประวัติ

สำหรับประเทศไทย คนไทยประดิษฐ์เครื่องบอกเวลาใช้เองเมื่อร้อยปีมาแล้ว คือในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงมีวลีที่กำชับรับสั่งกับข้าราชบริพารผู้ใกล้ชิด มีความว่า " สยามจะอยู่รอด รักษาความเป็นไทไม่เป็นขี้ข้าฝรั่ง จะต้องทำให้คนไทยเชื่อมั่น และต่างชาติเชื่อว่าคนไทยนี้เก่ง " จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้ากรมอุทกศาสตร์ท่านแรกของสยาม ชื่อ Captain Loftus จัดทำ นาฬิกาแดด ไว้ให้เป็นเครื่องกำหนดหมายบอกเวลา แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานไว้ที่ลานหน้าพระอุโบสถวัดนิเวศน์ธรรมประวัติ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนทุกวันนี้